โดยหลักแล้วการบันทึกข้อความสนทนานั้นหากได้รับความยินยอมจากคู่สนทนาของเราให้สามารถอัดบันทึกเสียงการสนทนาย่อมสามารถใช้เป็นพยานหลักฐานในชั้นศาลได้ในทุกกรณีอยู่แล้ว
แต่หากเป็นกรณีที่แอบบันทึกทึกเสียงของคู่สนทนาของเราโดยที่อีกฝ่ายไม่ได้รับรู้หรือไม่ได้รับความยินยอมนั้นจะใช้รับฟังเป็นพยานหลักฐานในชั้นศาลได้หรือไม่ แยกพิจารณาเป็น 2 กรณี
กล่าวโดยสรุปหากบรรลุหลักเกณฑ์ตามที่กล่าวมานี่พยานหลักฐานที่ได้มานั้นย่อมรับฟังได้ใน
ชั้นศาล แต่อย่างไรก็ตามปัญหาที่ควรคำนึงถึงต่อไปก็คงเป็นในเรื่องของน้ำหนักในการรับฟัง ทนายจึงขอแนะนำว่าว่าหากจะดำเนินการอัดเสียงการสนทนาคู่กรณีอีกฝั่ง ให้ดำเนินการอัดเสียงตั้งแต่ต้นจนจบโดยไม่ตัดทอนข้อความใดออกไป และพยายามแสดงให้คนฟังรู้ได้ว่าบันทึกการสนทนานั้น ๆ เพิ่งเริ่มต้นขึ้นและหากจะจบการสนทนาพยายามแสดงให้คนฟังรู้ได้ว่าจบการสนทนาแล้วด้วย อันเป็นวิธีการหนึ่งที่ช่วยเพิ่มน้ำหนักของพยานหลักฐานของเราให้มากขึ้น
279/73 ถนน วิภาวดีรังสิต แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร 10210
279/73 ถนน วิภาวดีรังสิต แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร 10210